Music for Society III 1/2022
Course ID: 111 111
Prerequiste: Pass Music for Society 2
กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชนโดยมีความสอดคล้องกับสภาวะและความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 2 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมมากขึ้น
Creative musical activities focusing on applying musical knowledge to benefit a community by tailoring the activities to suit the conditions and needs; the activities must be arranged in the area or community that is different from those in Music for Society 2 and cover more audiences.
General Info
Course Title: Music for Society III
ชื่อรายวิชา: ดนตรีเพื่อประชาสังคม 3
Course ID: 111 111 (revised curriculum 2019)
Credit: 1(0-2-1)
Type of Subject: Core Course
Curriculum: Bachelor of Music Programme
Organisation: School of Music, PGVIM
Teaching: Onsite teaching, PBL
Special Edition
ในความร่วมมือทางวิชาการกับภาควิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
รายวิชา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคสนาม (Local History Fieldwork) รหัสวิชา 350444-59]
Dr Suppabhorn Suwanpakdee
School of Music,
Princess Galyani Vadhana Institute of Music
Faculty of Archaeology,
Silpakorn University
Faculty of Archaeology,
Silpakorn University
Assessment
การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (20%)
งานกลุ่มภาคสนาม (60%)
เก็บข้อมูลภาคสนาม (30%) [แผนที่ชุมชน, ประวัติชุมชน, แนวทางการดำเนินกิจกรรมดนตรีสร้างสรรค์]
ปฏิบัติภาคสนามดนตรีสร้างสรรค์เพื่อประชาสังคม (30%) [ปฏิบัติและการนำเสนอผลงานต่อสาธารณชน]
การนำเสนอผลงานการปฏิบัติภาคสนามดนตรีเพื่อประชาสังคม Presentation (20%)
เครื่องมือการวัดและประเมินผลพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ประเมินและวัดผลการเรียนรู้ แนวทางจัดการศึกษาดนตรีชุมชน การจัดการการเรียนรู้เคมบริจด์ โดยผู้เรียนควรจะอยู่ในระดับ "ผ่านระดับดี" ในแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้ ประกอบด้วย
ความรู้ความเข้าใจในบริบทของวัฒนธรรมชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย
ความสามารถในการดำเนินกิจกรรม
ความสามารถในการวางแผนงานและดำเนินกิจกรรมพร้อมแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
การประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
Music for Society course developed the assessment tools from Oxford Cambridge and RSA (OCR), Music in the Community level 3 Cambridge technical in performing arts. Learners must qualify at least level "Merit" of the OCR in each learning outcome;
Know the context and purpose of the community music-making, including practitioners and organisations.
Be able to lead practical music-making activities
Plan and participate in a community and music-making project for a specific community group and/or venue.
Know how to monitor and evaluate a community music-making project.
การนำเสนอผลงานของนักศึกษารายวิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 ปีการศึกษา 2564 (Online Edition) ภายใต้แนวคิดดนตรีเพื่อประชาสังคมในฐานะดนตรีเป็นเครื่องมือสำหรับพลเมืองโลก
References
จารุณี มุมบ้านเซ่า. (2560). การวิจัยแบบบูรณาการข้ามศาสตร์. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 25(1), 123-124.
เชษฐา ทรัพย์เย็น. (2547). ประชาสังคมไทย: บทสังเคราะห์แนวคิด, การก่อร่างสำนักคิดแบบไทย และนัยเชิงนิติ-พฤตินัยต่อการเมืองไทย. รัฐศาสตร์สาร, 328-380.
ชาญณรงค์ เฮงอรุณประสาน, เขตสิน จูจันทร์, และ ฉมามาศ แก้วบัวดี. (2561). เรื่องเล่าเคล้าเสียงฝน: ศึกษาวัฒนธรรมชุมชน หมู่บ้านแม่ออกฮู ต.แม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก. ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 43-48). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรพัฒน์ อังศุชวาล. (2559). ปุจฉาว่าด้วย 'ประชาสังคม' (civil society): บทสำรวจทฤษฎีและแนวคิดจากต่างประเทศสู่การพิจารณาประชาสังคมเชิงปฏิบัติการและองค์กรพัฒนาเอกชนไทย. วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร, 1(13), 4. สืบค้นจาก https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/blooms-taxonomy/.
เบญจมาศ ไม้เกตุ, ธรณ์ ทักษิณวราจาร, และ นรากร ปัญญาวรวุฒิ. (2561). บทเพลง ซ่ะ เก่อ ยื่อ บะ (ถวิลหา). ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 57). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล, ผศ. (2563). มธ.100 พลเมืองกับการลงมือแก้ปัญหา. สืบค้น 1 มีนาคม 2563. Gen Next Academy ธรรมศาสตร์ ตลาดวิชา. https://gennext.tu.ac.th/courses/course-v1:Academic_Services_Division+TU100+2019_T2/about
พงษ์เทพ จิตดวงเปรม. (2560). ปรากฎการณ์ "จับมือมั่น". ใน ศุภพร สุวรรณภักดี บรรณาธิการ, ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา-ธรรมศาสตร์ 3 ต. แม่หละ อ. ท่าสองยาง จ. ตาก (หน้า 8-9). กรุงเทพฯ : หยินหยางการพิมพ์.
ศุภพร สุวรรณภักดี. (2559). ดุษฎีนิพนธ์งานประพันธ์เพลง: ลม-กระซิบ-พราย สำหรับวงเชมเบอร์อองซอมเบลอ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภพร สุวรรณภักดี. (2563). บทเพลงจากพื้นที่สูงปางมะผ้า: การส่งต่อเรื่องราวผ่านกระบวนการทำงานดนตรีข้ามวัฒนธรรม. ใน รัศมี ชูทรงเดช (บ.ก.), เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง โบราณคดีก่อนไท(ย) บนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เรือนแก้ว.
ศุภพร สุวรรณภักดี. (2560). ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง: ดนตรีและศิลปะสร้างสรรค์แบบผู้คนมีส่วนร่วม.ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 7). กรุงเทพฯ : หยินหยาง การพิมพ์.
ศุภพร สุวรรณภักดี. (2561). ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้องฯ ปีที่ 2 กิจกรรมดนตรีและศิลปะแบบ (คน) มีส่วนร่วมสู่ความเข้าใจ (คน) ในชุมชน. ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้องฯ ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา-ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 29-32). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศุภพร สุวรรณภักดี. (2561). แนวคิดค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้องฯ ปีที่ 2 มโนทัศน์ความเป็นจิตอาสา.ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 29-32). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศุภพร สุวรรณภักดี . (2563). แนวคิดในการพัฒนากิจกรรมค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้องปีที่ 3 (พ.ศ. 2562).ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 3 โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนจุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตําบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 34-43). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา. (2019). วิสัยทัศน์ พันธิกิจและค่านิยมองค์กร. สืบค้น 1 ธันวาคม 2562. จาก http://www.pgvim.ac.th/th/about/Vision.php
สุปัญญดา สุนทรนนธ์, และ ณัฐนรินทร์ เนียมประดิษฐ์. (2562). การประยุกต์ใช้การออกแบบนวัตกรรม ด้วยกระดาษแผ่นเดียวสำหรับการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์: คืออะไร และ ใช้อย่างไร?. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 24(2), 87-91.
สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ ศ.คลินิก. (ม.ป.ป.). มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา มมศท 100 การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://op.mahidol.ac.th/ea/wp-content/uploads/2019/07/MUGE100.pdf
ภาษาต่างประเทศ
Armstrong, P. (2010). Bloom’s Taxonomy. Vanderbilt University Center for Teaching.
Retrieved 1 February 2020 from https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/blooms-taxonomy/.
BOP. n.d.). Edinburg Festivals Impact Study. Retrieved 1 October 2019 from https://www.edinburghfestivalcity.com/assets/000/000/338/BOP_Edinburgh_Festivals_Impact_-_01.05.11_original.pdf?1411035388
Gillies, M. (2001). Béla Bartók 1903-8. In S. Sadie (Ed.), The New Grove Dictionary of Music and Musicians (pp. 790-791). London: Macmillan Publishers.
Merriam, A. P. (1969). Field Techniques in Ethnomusicology: The Basongye (Republic of the Congo). JSTOR, 13(2), 213-229. doi:10.2307/850146
Oxford Cambridge & RSA. (2020,). Music in the Community: OCR level 3 Cambridge technical in performing arts. Oxford Cambridge and RSA.
https://www.ocr.org.uk/Images/141422-music-in-the-community.pdf
Shoocongdej, R. (2020). From (different) Horizons of Rockshelter in Highland Pang Mapha, Mae Hong Son, Thailand. Retrieved from http://www.rasmishoocongdej.com/fdhrs-exhibition/exhibition/
Solís, T. (2004). Teaching What Cannot Be Taught: An optimistic overview. In………(Eds.), Performing Ethnomusicology: Teaching and Representation in world music ensemble. Berkeley: University of Califonia Press.
Suwanpakdee, S., &Poktihitiyuk, Y. (2018). Aksornsilpa: Participation in Music and Arts Camp. Princess Galyani Vadhana International Symposium 2018, 39-40.